-
เอกสารที่ต้องใช้ในการจำนอง
- บัตรประจำตัวประชาชน ฉบับจริง - ทะเบียนบ้านของเจ้าของ และของคู่สมรส ฉบับจริง - ทะเบียนสมรส ฉบับจริง (พร้อมสำเนา) - หลักฐานการเปลี่ยนชื่อตัว-ชื่อสกุล ฉบับจริง (พร้อมสำเนา) - ทะเบียนหย่า , ใบมรณะบัตร ฉบับจริง (พร้อมสำเนา)
-
ขายฝากกับจำนองต่างกันอย่างไร
การจำนอง คือ การเอาอสังหาริมทรัพย์จดทะเบียนจำนองเป็นการประกันการชำระหนี้ให้แก่เจ้า หนี้ผู้รับจำนอง โดยไม่ต้องส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้รับจำนอง
-
ความหมายของการจำนอง
จำนอง คือ การที่บุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้จำนอง” เอาอสังหาริมทรัพย์ของตน เช่น ที่ดินหรือทรัพย์ที่กฎหมายอนุญาตให้จำนองได้ ไปจดทะเบียนไว้กับบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้รับจำนอง”
-
ภาษีธุรกิจเฉพาะ คืออะไร
ต้องถือครองอย่างน้อย 5 ปี หรือมีชื่อในทะเบียนบ้านนานกว่า1ปี ถึงจะได้รับการยกเว้น ภาษีธุรกิจเฉพาะ
-
ขายฝากคืออะไร
การขายฝากหรือการทำสัญญาขายฝาก เป็นสัญญาซื้อขายซึ่งสิทธิแห่งความเป็นเจ้าของ ในทรัพย์สินตกไปยังผู้ซื้อ
-
ข้อควรระวังในการ “ขายฝาก”
.หลีกเลี่ยงการขายฝากที่ดินที่ระบุราคาการขายในสัญญาไม่ตรงกับที่เป็นจริง เช่น ขายฝากไว้ในราคาจริง 1,000,000 บาท แต่ผู้รับซื้อฝากให้ระบุในสัญญาเป็นขายฝากในราคา 1,150,000 บาท โดยบวกดอกเบี้ยไปด้วย การโกงแบบนี้นิยมใช้กันมากในหมู่ผู้รับซื้อฝาก
-
ขายบ้าน ต้องเสียภาษีอะไรบ้าง?
ภาษีจากการขายบ้าน นั้นมีอะไรกันบ้าง เพื่อที่จะได้เตรียมตัวให้ดี ก่อนคิดที่จะขายบ้าน โดยที่ท่านต้องไม่ลืมว่า ภาระในการเสียภาษีทั้งหมดทั้งมวล ผู้ที่จะต้องรับภาระตามกฏหมายนั้นก็คือผู้ ขาย และหากจะให้ผู้ซื้อรับภาระในการเสียภาษีด้านใดด้านหนึ่ง ก็ควรจะต้องตกลงกันให้เรียบร้อยก่อนที่จะดำเนินการทางนิติกรรม
-
พ.ร.บคุ้มครองประชาชนในการทำสัญญาขายฝากที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือที่อยู่อาศัย
การขายฝากซึ่งเป็นบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่บังคับใช้มากว่า 90 ปี กำหนดเวลาไถ่ถอนสูงสุดไม่เกิน 10 ปี แต่ไม่กำหนดเวลาขั้นต่ำไว้ จึงเป็นช่องให้นายทุนเงินกู้เจ้าหนี้นอกระบบหาประโยชน์ โดยการกำหนดเงื่อนเวลาไถ่ถอนให้สั้นๆ 3 เดือนบ้าง 6 เดือนบ้าง ลูกหนี้ซึ่งกำลังร้อนเงินไม่มีทางเลือก และคิดว่า เมื่อถึงฤดูเก็บเกี่ยวจะหาเงินมาใช้หนี้ได้ทันก่อนหมดเวลาไถ่ถอน แต่บ่อยครั้งที่ฝนฟ้าไม่เป็นใจ ถ้าไม่น้ำท่วม ก็ฝนแล้ง หรือฝนตกต้องตามฤดูกาล แต่ราคาข้าวตกต่ำ หาเงินมาไถ่ถอนไม่ทัน ต้องถูกยึดที่นาที่นำไปขายฝาก